ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจของพื้นที่ EEC ตอนที่ 1
บทความโดยดร. นรพัชร์ อัศววัลลภดร. กวิน เอี่ยมตระกูลสัณหณัฐ
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อรองรับความท้าทายในอนาคต
บทความโดยดร. นรพัชร์ อัศววัลลภดร.กวิน เอี่ยมตระกูลอภิญญา เจนธัญญารักษ์ชัยวัฒน์
บทวิเคราะห์เรื่อง การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อรองรับความท้าทายในอนาคต
บทความโดย ดร. นรพัชร์ อัศววัลลภดร.กวิน เอี่ยมตระกูลอภิญญา
ช่องทางใหม่ของการระดมทุนในยุค “สินทรัพย์ดิจิทัลฟีเวอร์”
บทความโดยสัณหณัฐ เศรษฐศักดาศิริ 1.บทนำ หลังจากเทคโนโลยี Blockchain
ดัชนีปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจเชิงพื้นที่ (Spatial Economic Fundamentals Index, SEFI) : การบูรณาการข้อมูลขนาดใหญ่ด้วย Big Data Analytics
บทความโดยดร. นรพัชร์ อัศววัลลภดร.กวิน เอี่ยมตระกูลบุณฑริกา ชลพิทักษ์วงศ์ชัยวัฒน์
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อรองรับความท้าทายในอนาคต
ในช่วงที่เศรษฐกิจกำลังฟื้นตัว นโยบายการคลังจะทำหน้าที่สนับสนุนการดูแลเศรษฐกิจ
เพื่อรักษาเสถียรภาพและความยั่งยืนทางการคลัง ควบคู่กับการรักษาระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้เหมาะสม รวมถึงดูแลบรรเทาผลกระทบต่อภาระการดำรงชีพของประชาชนแบบเฉพาะกลุ่ม อาทิ การให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจดูแลกลุ่มลูกหนี้เฉพาะกลุ่ม มาตรการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย มาตรการดูแลราคาสินค้าที่จำเป็นรวมถึงราคาพลังงาน และพร้อมจะดำเนินมาตรการเพิ่มเติมอื่น ๆ ที่จำเป็น ขณะที่นโยบายการเงินมีเป้าหมายเพื่อรักษาเสถียรภาพราคา และรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน
เปิดโลก InsurTech…ธุรกิจประกันภัยในยุคดิจิทัล
ธุรกิจประกันภัยได้ก้าวเข้าสู่ยุค Digital Transformation และผู้ประกอบการเริ่มนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการดำเนินธุรกิจมากขึ้น ทำให้เป็นประโยชน์และสะดวกต่อการเข้าถึงของลูกค้า ทั้งในด้านการเลือกซื้อบริการประกันภัย การพิจารณารับประกันภัย การแจ้งเคลม และการคืนเบี้ยประกัน ซึ่งในช่วงที่ผ่านมา เราจึงเริ่มได้ยินคำว่า “InsurTech” กันมากขึ้น
Report Review: “Towards Social Protection 4.0: An assessment of Thailand social protection and Labor market systems”
The World Bank published a comprehensive report in July 2021: “Towards Social Protection 4.0: An assessment of Thailand social protection and Labor market systems”. This report makes recommendations for strengthening Thailand’s social protection and labor market systems in four areas
เรียนรู้การพัฒนาเชิงพื้นที่ในต่างประเทศ
การพัฒนาที่มีความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่โดยส่วนใหญ่จะมาจากการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่เพื่อให้การพัฒนาพื้นที่สามารถตอบโจทย์ที่สอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่นั้นๆ ดังตัวอย่างกรณีประเทศสเปน และประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น
เปิดโลกผู้มีรายได้น้อยด้วย Machine Learning
การเปิดโลกผู้มีรายได้น้อยด้วย Machine Learning ในครั้งนี้ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการนำความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมาช่วยวิเคราะห์ฐานข้อมูลของประชาชนเชิงลึก สำหรับในระยะถัดไป สามารถนำไปต่อยอดกับเทคโนโลยี Blockchain เชื่อมโยงการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ของประชาชน ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการคาดการณ์ผู้ที่มีความเสี่ยงหรือโอกาสที่จะตกอยู่ในความยากจนในอนาคต รวมถึงเป็นประโยชน์ต่อการออกแบบและเสนอแนะนโยบายการคลังได้ตรงตามความต้องการของประชาชนทุกกลุ่มที่มีความแตกต่างกันอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ “ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” ของรัฐบาล