การระดมทุนสาธารณะเพื่อพัฒนาบ้านเกิด : กรณีศึกษา Hometown Tax ประเทศญี่ปุ่น
ในปัจจุบัน หน่วยงานท้องถิ่นในต่างประเทศได้ดำเนินโครงการการระดมทุนสาธารณะ เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้ตอบโจทย์กับความต้องการของคนในชุมชน ซึ่งนอกจากจะเป็นการสร้างความมีส่วนร่วมและเสริมสร้างความเข้มแข็งของคนในชุมชนแล้ว ยังเป็นการช่วยลดภาระงบประมาณของภาครัฐในการบริการสาธารณะอีกด้วย
CMIM: Financial Safety Net ของภูมิภาคอาเซียน+3
CMIM ถือเป็นความร่วมมือทางการเงินและกลไกความช่วยเหลือทางการเงิน (Financial Safety Net) ของประเทศในภูมิภาคอาเซียน+3 และเป็นความร่วมมือทางการเงินที่เป็นรูปธรรมที่สุดของภูมิภาคอาเซียน+3 ภายใต้กรอบการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้ว่าการธนาคารกลางอาเซียน+3 (ASEAN+3 Finance Ministers’ and Central Bank Governors’ Meeting: AFMGM+3)
นโยบายความมั่นคงทางเศรษฐกิจกับการตั้งหน่วยงานทางเศรษฐกิจใหม่ของญี่ปุ่น
ภายหลังจากที่นายคิชิดะ ฟูมิโอะ ได้เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2564 รัฐบาลญี่ปุ่นได้มีการปรับเลี่ยนนโยบายทางเศรษฐกิจ จากนโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจของอดีตนายกรัฐมนตรีอาเบะ ชินโซ หรืออะเบะโนมิกส์ (Abenomics) ซึ่งเป็นเรือธงในการต่อสู้กับสภาพเศรษฐกิจที่ซบเซาของญี่ปุ่นมาเป็นระยะเวลาเกือบ 10 ปี
Indo-Pacific Economic Partnership: Understanding New US Position toward the Region
ตุลาคม 2021 สหรัฐอเมริกา (สหรัฐฯ) ได้เปิดตัวกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจใหม่สำหรับภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ภายใต้ชื่อ Indo-Pacific Economic Framework หรือ IPEF ซึ่งถือเป็นกรอบความร่วมมือด้านการค้าและเศรษฐกิจแรกภายใต้ประธานาธิบดีโจ ไบเดน และเป็นกลไกสำคัญของสหรัฐฯ ในการเพิ่มอำนาจต่อรองเชิงเศรษฐกิจ (Economic Leverage) ในภูมิภาค เพื่อคานดุลอำนาจกับสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีน)
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net-Zero Emissions): มุมมองของอาเซียนและบทบาทของธนาคารเพื่อการพัฒนาพหุภาคี
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศถือเป็นปัญหาสำคัญที่ทั่วโลกต้องร่วมมือกันแก้ไข และดำเนินการภายใต้กรอบความร่วมมือ เช่น ความตกลงปารีส และ COP26 เป็นต้น โดยในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน แม้จะมีการดำเนินการเพื่อแก้ไขและบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ยังจำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและรอบด้านให้บรรลุเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเป้าหมายด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ได้แสดงเจตจำนงไว้
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนความสมดุลทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
สุดท้ายนี้ กลไกทางการเงินที่จะช่วยให้ประเทศด้อยพัฒนาสามารถเร่งให้ทันกับประเทศที่พัฒนาแล้ว ผ่านธนาคารเพื่อการพัฒนาพหุภาคียังคงต้องมีการพัฒนาต่อไปอย่างต่อเนื่อง ทั้งในแง่ของการเพิ่มประสิทธิภาพ การลงทุน การแสวงหาแหล่งเงินทุน และกลไกทางการเงินในรูปแบบใหม่ ๆ ที่จะไม่ส่งผลต่อภาระทางการคลังของประเทศผู้บริจาคมากจนเกินไป ประเทศไทยเองในฐานะผู้ให้ทุนหรือผู้บริจาคจะยังคงแสดงจุดยืนเกี่ยวกับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง ทั้งบนเวทีในประเทศและเวทีระหว่างประเทศ เพื่อเน้นย้ำถึงความตั้งใจจริง ที่จะพัฒนาตนเองและพัฒนาประเทศในภูมิภาคให้เติบโตเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างมั่นคง มั่งคั่ง เสมอภาค และยั่งยืนร่วมกันในอนาคต
บทบาทของกระทรวงการคลังต่อสินค้าสิ่งแวดล้อม (Environmental Goods: EGS) ภายใต้กรอบเอเปค
ปัจจุบันไทยได้ดำเนินการลดอัตราภาษีสินค้าสิ่งแวดล้อมของเอเปคครบถ้วนแล้วทั้งสิ้น จำนวน 54 รายการ ณ พิกัดศุลกากรที่ระดับ 6 หลัก เป็นผลสำเร็จ
จากเสรีนิยมใหม่สู่ศักดินาเทคโนโลยีก้าวถอยของเศรษฐกิจโลกที่ควรจับตา?
การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อมุ่งสู่การเป็นเศรษฐกิจดิจิทัล (Digitalisation for Digital Economy) เป็นหนึ่งในสองประเด็นหลักที่ประเทศไทยต้องการผลักดันในกรอบการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเอเปค (APEC Finance Ministers’ Process: APEC FMP) ในปี 2022
มุมมองเชิงลึก หนี้ครัวเรือนไทย
บทความฉบับนี้ทำการศึกษาข้อมูลหนี้ครัวเรือนผ่านฐานข้อมูล Micro Data จากการข้อมูลสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งการสำรวจด้านรายได้ที่มีข้อมูลปี 2562 และ 2564 ในขณะนี้เป็นฐานข้อมูลหลักในการวิเคราะห์
มุมมองเชิงลึก หนี้ครัวเรือนไทย
เมื่อกล่าวถึงหนี้โดยรวมของประเทศ ในภาพใหญ่ๆ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ หนี้สาธารณะและหนี้ภาคเอกชน ในขณะที่หนี้ภาคเอกชนก็สามารถแบ่งได้เป็นอีก 2 ประเภทคือ หนี้ที่ก่อโดยนิติบุคคล และหนี้ที่ก่อโดยบุคคลธรรมดา ในบทความนี้จะกล่าวถึงเฉพาะในส่วนของหนี้ที่ก่อโดยบุคคลธรรมดาหรือที่มักจะเรียกกันว่า หนี้ครัวเรือน (Household Debt)