Author Archives: Editor Team

บทความโดยดร.กวิน เอี่ยมตระกูลบุณฑริกา ชลพิทักษ์วงศ์ปภัช สุจิตรัตนันท์ 1.บทนำ

บทความโดยชานน ลิมป์ประสิทธิพรวาสนา  บุญพุ่ม  สรุปสถานการณ์เงินเฟ้อในยุคโควิด-19 จนถึงปัจจุบัน

ในช่วงที่เศรษฐกิจกำลังฟื้นตัว นโยบายการคลังจะทำหน้าที่สนับสนุนการดูแลเศรษฐกิจ
เพื่อรักษาเสถียรภาพและความยั่งยืนทางการคลัง ควบคู่กับการรักษาระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้เหมาะสม รวมถึงดูแลบรรเทาผลกระทบต่อภาระการดำรงชีพของประชาชนแบบเฉพาะกลุ่ม อาทิ การให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจดูแลกลุ่มลูกหนี้เฉพาะกลุ่ม มาตรการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย มาตรการดูแลราคาสินค้าที่จำเป็นรวมถึงราคาพลังงาน และพร้อมจะดำเนินมาตรการเพิ่มเติมอื่น ๆ ที่จำเป็น ขณะที่นโยบายการเงินมีเป้าหมายเพื่อรักษาเสถียรภาพราคา และรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน

หากผู้ที่จะทำประกันภัยต้องการทำประกันภัยให้ตรงกับความต้องการมากที่สุด ลำดับแรกคือตรวจสอบความเสี่ยงของตนเองว่ามีความเสี่ยงอะไรบ้าง ผลกระทบและโอกาสที่จะเกิดมากน้อยเพียงใด จากนั้นจึงค่อยมาพิจารณาว่าความเสี่ยงประเภทใดที่ควรบริหารความเสี่ยงด้วยการประกันภัย และเมื่อผู้ที่จะทำประกันภัยทราบแล้วว่า ประกันภัยอะไรที่ตนเองต้องการ ขั้นตอนต่อมาก็คือการเลือกทำประกันภัยบริษัทประกันภัยที่มีความมั่นคงและมีความสามารถที่จะจ่ายค่าสินไหมทดแทนหรือให้ความคุ้มครองตามสัญญาประกันภัยได้

และสิ่งสำคัญในการเลือกผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้ตรงใจที่สุดคือ ผลิตภัณฑ์ประกันภัยต้องมีความสอดคล้องของความเสี่ยงของผู้ที่จะทำประกันภัยและสอดคล้องกับความสามารถในการจ่ายเบี้ยประกันภัย เพียงเท่านี้ผู้อ่านก็สามารถการเลือกผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้ตรงกับความต้องการได้

สำหรับ Key Success ของโครงการวังจันทร์วัลเลย์แห่งนี้ ได้แก่ คนและนักลงทุน โดยเมื่อมีจำนวนคนที่เข้ามาในโครงการ ไม่ว่าจะเป็นทำงาน ศึกษาเล่าเรียน และอยู่อาศัย เพิ่มขึ้น จะทำให้เมืองมีการขยายตัวและพัฒนาระบบนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรวมไปถึงนักลงทุนที่เป็นปัจจัยที่สำคัญไม่แพ้กัน เพราะนักลงทุนจะมาตั้งอุตสาหกรรมที่มีนวัตกรรมใหม่ๆ ซึ่งจะทำให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมในเมืองแห่งนี้เพิ่มขึ้น รวมไปถึงจะกระตุ้นการจ้างงานได้อีกด้วย

โมเดลแห่งความสำเร็จ ที่เรียกว่า “สกลนครโมเดล” เป็นโมเดลที่รวมความร่วมมือมหาวิทยาลัย หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ภาคการเมือง ภาคประชาชน ให้มาทำงานด้วยกันโดยมีเกษตรกร เป็นเป้าหมายเดียวกัน ซึ่งจะต้องพาเกษตรกรทำจริง พาทำ ทำอย่างแม่นยำ และแก้ปัญหาด้วยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์

โครงการเชียงใหม่โมเดล เป็นโครงการที่ยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตเกษตรกรและชุมชนด้วยองค์ความรู้ และนวัตกรรมบริการ โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาพื้นที่ (บพท.) คณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ของสภาผู้แทนราษฎร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และหน่วยงานระดับท้องถิ่น

MICE

ในปี 2566 ทาง TCEB จะมีการสร้างงานจาก City DNA ที่จะสร้างอัตลักษณ์ให้แต่ละพื้นที่ เพื่อพัฒนาศักยภาพและยกระดับความพร้อมของภาคเหนือ อย่างไรก็ดี งานที่กำลังจะจัดขึ้นในภาคเหนือปีนี้ คือ งาน FTI Expo ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ช่วงระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน – 3 กรกฎาคม 2565 ที่เดิมจัดที่กรุงเทพฯ มาโดยตลอดแต่ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่จัดที่อื่น ซึ่งเชียงใหม่เป็นจังหวัดที่ถูกเลือก งานนี้คาดว่าจะมีผู้ร่วมงานประมาณ 20,000 คน นอกจากนี้ ยังมีงาน Mega Event ที่เป็นงานกีฬา Spartan งานวิ่งวิบาก ซึ่งคาดว่าจะมีนักแข่งทั้งคนไทยและชาวต่างชาติประมาณ 8,000 คน ไม่รวมผู้ติดตาม โดยงานจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 – 14 สิงหาคม 2565 และจะมีการจัดการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสเอเปค ครั้งที่ 3 และการประชุมที่เกี่ยวข้อง (3rd APEC Senior Officials and Related Meetings)  ที่เชียงใหม่เช่นกัน คาดการณ์ไว้ว่าจะมีคนไปประมาณ 1,500 คน โดยงานจะจัดวันที่ 16-31 สิงหาคม 2565 นอกจากนี้ จะมีงานที่ทาง TCEB จัดกันเองชื่อ Bam Fest เทศกาลสถาปัตยกรรมไม้ไผ่และนวัตกรรมวัสดุสร้างสรรค์นานาชาติ งานจัดขึ้นเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมไม้ไผ่ โดยจะมีจัดแสดงระหว่างวันที่ 18 พฤษภาคม – 31 กรกฎาคม 2565 ณ จ. เชียงใหม่

90/215