บทวิเคราะห์เรื่อง การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อรองรับความท้าทายในอนาคต
บทความโดย ดร. นรพัชร์ อัศววัลลภดร.กวิน เอี่ยมตระกูลอภิญญา
นักเรียนทุน UIS : คลื่นลูกใหม่ของ สศค.
บทความโดยนายบรรลุ คงคารัตน์ ในอดีตผู้เขียนเคยรับราชการในตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน ส่วนบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานเลขานุการกรม
บุรีรัมย์โมเดล เมืองต้นแบบของการปลูกกัญชาเพื่อการแพทย์
บทความโดยนางสาวจรัลรัตน์ พงศ์ภานุสิทธ์นางสาวนภัสวรรณ บุญช่วย ในปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกเริ่มออกกฎหมายให้สามารถปลูก หรือสูบกัญชาได้อย่างเสรี
การพัฒนาเมืองแสนสุขภายใต้แนวคิด “Saen Suk Smart Living and Sport Tourism City”
บทความโดยนายชัยวัฒน์ หาญพิทักษ์พงศ์นายธณัฐ พวงนวมนายกานต์ แจ้งชัดใจ 1.
ช่องทางใหม่ของการระดมทุนในยุค “สินทรัพย์ดิจิทัลฟีเวอร์”
บทความโดยสัณหณัฐ เศรษฐศักดาศิริ 1.บทนำ หลังจากเทคโนโลยี Blockchain
ทำความรู้จักกับดัชนีความไม่แน่นอนโลก
บทความโดยดร.กวิน เอี่ยมตระกูลบุณฑริกา ชลพิทักษ์วงศ์ปภัช สุจิตรัตนันท์ 1.บทนำ
สรุปสถานการณ์เงินเฟ้อในยุคโควิด-19 จนถึงปัจจุบัน
บทความโดยชานน ลิมป์ประสิทธิพรวาสนา บุญพุ่ม สรุปสถานการณ์เงินเฟ้อในยุคโควิด-19 จนถึงปัจจุบัน
ดัชนีปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจเชิงพื้นที่ (Spatial Economic Fundamentals Index, SEFI) : การบูรณาการข้อมูลขนาดใหญ่ด้วย Big Data Analytics
บทความโดยดร. นรพัชร์ อัศววัลลภดร.กวิน เอี่ยมตระกูลบุณฑริกา ชลพิทักษ์วงศ์ชัยวัฒน์
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อรองรับความท้าทายในอนาคต
ในช่วงที่เศรษฐกิจกำลังฟื้นตัว นโยบายการคลังจะทำหน้าที่สนับสนุนการดูแลเศรษฐกิจ
เพื่อรักษาเสถียรภาพและความยั่งยืนทางการคลัง ควบคู่กับการรักษาระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้เหมาะสม รวมถึงดูแลบรรเทาผลกระทบต่อภาระการดำรงชีพของประชาชนแบบเฉพาะกลุ่ม อาทิ การให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจดูแลกลุ่มลูกหนี้เฉพาะกลุ่ม มาตรการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย มาตรการดูแลราคาสินค้าที่จำเป็นรวมถึงราคาพลังงาน และพร้อมจะดำเนินมาตรการเพิ่มเติมอื่น ๆ ที่จำเป็น ขณะที่นโยบายการเงินมีเป้าหมายเพื่อรักษาเสถียรภาพราคา และรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน
เคล็ด (ไม่) ลับ เลือกประกันภัยตรงใจคุณ
หากผู้ที่จะทำประกันภัยต้องการทำประกันภัยให้ตรงกับความต้องการมากที่สุด ลำดับแรกคือตรวจสอบความเสี่ยงของตนเองว่ามีความเสี่ยงอะไรบ้าง ผลกระทบและโอกาสที่จะเกิดมากน้อยเพียงใด จากนั้นจึงค่อยมาพิจารณาว่าความเสี่ยงประเภทใดที่ควรบริหารความเสี่ยงด้วยการประกันภัย และเมื่อผู้ที่จะทำประกันภัยทราบแล้วว่า ประกันภัยอะไรที่ตนเองต้องการ ขั้นตอนต่อมาก็คือการเลือกทำประกันภัยบริษัทประกันภัยที่มีความมั่นคงและมีความสามารถที่จะจ่ายค่าสินไหมทดแทนหรือให้ความคุ้มครองตามสัญญาประกันภัยได้
และสิ่งสำคัญในการเลือกผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้ตรงใจที่สุดคือ ผลิตภัณฑ์ประกันภัยต้องมีความสอดคล้องของความเสี่ยงของผู้ที่จะทำประกันภัยและสอดคล้องกับความสามารถในการจ่ายเบี้ยประกันภัย เพียงเท่านี้ผู้อ่านก็สามารถการเลือกผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้ตรงกับความต้องการได้