การส่งเสริมการพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่ในระดับตำบลด้วยแนวคิด “Smart Tambon Model”
บทความโดยนายชัยวัฒน์ หาญพิทักษ์พงศ์นายธณัฐ พวงนวมนายกานต์ แจ้งชัดใจ 1.
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อรองรับความท้าทายในอนาคต
บทความโดยดร. นรพัชร์ อัศววัลลภดร.กวิน เอี่ยมตระกูลอภิญญา เจนธัญญารักษ์ชัยวัฒน์
บทวิเคราะห์เรื่อง การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อรองรับความท้าทายในอนาคต
บทความโดย ดร. นรพัชร์ อัศววัลลภดร.กวิน เอี่ยมตระกูลอภิญญา
การพัฒนาเมืองแสนสุขภายใต้แนวคิด “Saen Suk Smart Living and Sport Tourism City”
บทความโดยนายชัยวัฒน์ หาญพิทักษ์พงศ์นายธณัฐ พวงนวมนายกานต์ แจ้งชัดใจ 1.
ดัชนีปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจเชิงพื้นที่ (Spatial Economic Fundamentals Index, SEFI) : การบูรณาการข้อมูลขนาดใหญ่ด้วย Big Data Analytics
บทความโดยดร. นรพัชร์ อัศววัลลภดร.กวิน เอี่ยมตระกูลบุณฑริกา ชลพิทักษ์วงศ์ชัยวัฒน์
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อรองรับความท้าทายในอนาคต
ในช่วงที่เศรษฐกิจกำลังฟื้นตัว นโยบายการคลังจะทำหน้าที่สนับสนุนการดูแลเศรษฐกิจ
เพื่อรักษาเสถียรภาพและความยั่งยืนทางการคลัง ควบคู่กับการรักษาระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้เหมาะสม รวมถึงดูแลบรรเทาผลกระทบต่อภาระการดำรงชีพของประชาชนแบบเฉพาะกลุ่ม อาทิ การให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจดูแลกลุ่มลูกหนี้เฉพาะกลุ่ม มาตรการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย มาตรการดูแลราคาสินค้าที่จำเป็นรวมถึงราคาพลังงาน และพร้อมจะดำเนินมาตรการเพิ่มเติมอื่น ๆ ที่จำเป็น ขณะที่นโยบายการเงินมีเป้าหมายเพื่อรักษาเสถียรภาพราคา และรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน
มุมมองของระบบ GFS ต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะทางกฎหมายของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
THAI ยังคงมีสภาพเป็นรัฐวิสาหกิจ (Public Corporations) ตามนิยามของระบบ GFS ซึ่ง สศค. ในฐานะที่เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการจัดทำข้อมูลสถิติการคลังตามระบบ GFS ของภาคสาธารณะยังคงต้องจัดทำข้อมูลสถิติการคลังตามระบบ GFS ของ THAI เพื่อศึกษาผลการดำเนินงาน ฐานะการคลัง และผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อดุลการคลัง (Net OperatingBalance) ของภาคสาธารณะ (Public Sector) และใช้แนวความคิดดังกล่าวในการพิจารณารัฐวิสาหกิจแห่งอื่นๆ ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงสถานะทางกฎหมายเพื่อประกอบการจัดทำข้อมูลสถิติการคลังของรัฐวิสาหกิจตามระบบ GFS ต่อไป