การค้าชายแดนในมุมมองเศรษฐกิจวิถีใหม่
บทความโดยดร.เกริกฤทธิ์ ฉายศิริกุล “การค้าชายแดน” เป็นการค้าระหว่างประเทศรูปแบบหนึ่ง ที่มีพื้นฐานมาจากการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตประจำวันของประชาชนที่อาศัยอยู่ตามแนวชายแดนของประเทศ
เปิดประวัติการแก้กฎหมายการถือหุ้นของบุคคลผู้ไม่มีสัญชาติไทยของบริษัทประกันวินาศภัยไทย
โดยสรุปแล้วกฎหมายการขยายสัดส่วนผู้ถือหุ้นของบุคคลผู้ไม่มีสัญชาติไทยในบริษัทประกันวินาศภัยของประเทศไทย มีการเปลี่ยนแปลงและมีพัฒนาการตามลำดับ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงในแต่ละครั้งเป็นไปตามบริบทของธุรกิจประกันวินาศภัย และสภาวะเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยหากวิเคราะห์ในภาพรวมจะเห็นได้ว่า ภาครัฐหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลธุรกิจประกันภัยได้คำนึงถึงการพัฒนาธุรกิจประกันภัยและคุ้มครองประชาชนผู้เอาประกันภัยเป็นสำคัญ
การออมผ่านการใช้จ่าย (Saving Through Spending: STS) เพื่อการเกษียณ : จากแนวคิดสู่แนวปฏิบัติ
บทความโดยดร. บุณฑรีก์ โฆษิตานุฤทธิ์นายภาวิณ พาราพันธกุลนางสาวสุธีรา ศรีทอง นายณัฐ
การปลดล็อกกัญชา กัญชงในประเทศไทย
บทความโดยนายศราวุธ พรมพันห่าว ที่ผ่านมาประมวลกฎหมายยาเสพติดได้กำหนดให้พืชกัญชา (Marijuana) และกัญชง
การพัฒนาเมืองระยองด้วยเทคโนโลยี Metaverse เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน กับบริษัท ระยองพัฒนาเมือง จำกัด
บทความโดยนายชัยวัฒน์ หาญพิทักษ์พงศ์นายกานต์ แจ้งชัดใจนางสาวนภัสวรรณ บุญช่วย 1.บทนำ
การส่งเสริมการพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่ในระดับตำบลด้วยแนวคิด “Smart Tambon Model”
บทความโดยนายชัยวัฒน์ หาญพิทักษ์พงศ์นายธณัฐ พวงนวมนายกานต์ แจ้งชัดใจ 1.
การขับเคลื่อนโครงการเมืองต้นแบบในพื้นที่ อ.เบตง จ.ยะลา
บทความโดยดร.นรพัชร์ อัศววัลลภนางสาวนภัสวรรณ บุญช่วย อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของสภาอุตสาหกรรม จังหวัดเชียงใหม่
บทความโดยดร.นรพัชร์ อัศววัลลภนางสาวนภัสวรรณ บุญช่วย สภาอุตสาหกรรมจังหวัดมีหน้าที่เป็นตัวแทนของภาคอุตสาหกรรม ในการดำเนินบทบาทในฐานะองค์กรเอกชนเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมของจังหวัดเชียงใหม่รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมอันก่อให้เกิดประโยชน์แก่ภาคเศรษฐกิจของท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง
สภาเผยแผ่พาณิชย์: ประวัติศาสตร์การบริหารราชการแผ่นดินและเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 6
ในสมัยรัชกาลที่ 6 ประเทศสยามเริ่มมีความเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและการค้าอย่างมาก การวางระบบสาธารณูปโภคได้เปลี่ยนความหมายมากกว่าสำหรับเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ราษฎร หากแต่ยังมีคุณูปการสำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจและการลงทุนอีกด้วย การจัดตั้งสภาเผยแผ่พาณิชย์ขึ้นมา จึงสะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของประเทศสยามอีกขั้น ที่เป็นการยกระดับสินค้าและการเน้นการผลิตปริมาณที่มาก นอกจากนี้ยังเป็นจุดเริ่มต้นของการบริหารราชการแผ่นดิน โดยบูรณาการหน่วยงานต่างๆ ให้มีส่วนช่วยขับเคลื่อนกิจการด้านพาณิชย์ การก่อตั้งสภาเผยแผ่พาณิชย์จึงเป็นมากกว่าการสนับสนุนให้ประเทสสยามมีฐานเศรษฐกิจที่มั่นคง อีกทั้งยังมีคุณูปการต่อการยกระดับชีวิตของราษฎร และการสร้างองค์ความรู้ใหม่ ซึ่งมุ่งเน้นให้ตระหนักถึงการผลิตปริมาณมากเพียงพอสำหรับการส่งออกอีกด้วย
เหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
บทความโดยวารสารการเงินการคลัง ประเทศไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2