นโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว กรณีศึกษา สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป (Digital economy policy from developed countries: case studies of USA and EU)
บทความนี้ขอหยิบยกนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ในส่วนของ “สหรัฐอเมริกา” และ “สหภาพยุโรป” ซึ่งถือเป็นประเทศผู้นำของโลกในการผลักดันประเทศเข้าสู่ยุคดิจิทัล เพื่อเป็นกรณีศึกษาในการต่อยอดไปใช้เป็นแนวทางพื้นฐานในการออกนโยบายด้านดิจิทัลของประเทศไทยได้
กองทุนเพื่อการฟื้นฟูร้านอาหารของประเทศสหรัฐอเมริกา (Restaurant Revitalization Fund)
เป็นหนึ่งในมาตรการช่วยเหลือธุรกิจขนาดเล็กและผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด -19 มีงบประมาณรวม 2.86 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นเงินให้เปล่า (grant) เพื่อช่วยเหลือร้านอาหาร บาร์ รถขายอาหาร และธุรกิจที่ให้บริการอาหารและเครื่องดื่ม โดยประธานาธิบดีโจ ไบเดนให้ความสำคัญกับธุรกิจร้านอาหารเนื่องจากชาวอเมริกันส่วนใหญ่เริ่มทำงานครั้งแรกในร้านอาหารเป็นส่วนใหญ่
โครงการย่านแห่งโอกาส (Opportunity Zones) ของประเทศสหรัฐอเมริกา
โครงการย่านแห่งโอกาส หรือ Opportunity Zones (OZ) ของประเทศสหรัฐฯ เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นในสมัยประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ภายใต้กฎหมาย Tax Cuts and Job Act 2017 เพื่อเป็นเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยส่งเสริมให้เงินทุนระยะยาวไหลเข้าสู่ชุมชนที่มีรายได้ต่ำทั่วสหรัฐฯ เพื่อทำให้เกิดการสร้างงาน การขยายตัวของเศรษฐกิจ และลดความยากจนในพื้นที่ด้อยโอกาส โดยการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเป็นแรงจูงใจให้นักลงทุนลงทุนใน Qualify Opportunity Fund (QOF) เพื่อลงทุนใน OZ
รู้จักนางเจเน็ต เยลเลน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหญิงคนแรกของสหรัฐอเมริกา
บทความนี้จึงขอเล่าชีวิตการศึกษา การทำงาน รวมทั้งภารกิจ แนวทางการทำงาน และความเห็นในประเด็นเศรษฐกิจต่างๆ เพื่อเราจะได้รู้จักเธอมากขึ้นในฐานะผู้นำหญิงคนแรกของกระทรวงการคลังสหรัฐฯ ที่มีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจท่ามกลางการแพร่ระบาดของโควิด-19 และด้านการเงินการคลังของสหรัฐฯ
ส่องนโยบายภาษีของผู้สมัครพรรคเดโมแครตผู้เสนอเป็นตัวแทนพรรคเข้าแข่งขันตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ปี 2563
นโยบายภาษีของผู้สมัครพรรคเดโมแครตส่วนใหญ่มุ่งเน้นในการสร้างรายได้เพิ่มเติมให้กับรัฐบาลกลางโดยไม่ส่งผลกระทบต่อคนชนชั้นกลางและช่วยผู้ที่มีรายได้น้อยมากขึ้น อย่างไรก็ดีข้อเสนอส่วนใหญ่จะส่งผลกระทบต่อผู้ที่มีรายได้สูงและบริษัทขนาดใหญ่
สหรัฐอเมริกา-อิหร่าน: ความสัมพันธ์ที่ผันแปร (ตอนที่ 2/2)
ดท้ายแล้วคงปฏิเสธไม่ได้ว่าความขัดแย้งในอิรักจะยังคงอยู่ต่อไป อิรักจะกลายเป็นสมรภูมิแห่งความตึงเครียดที่ยาวนานอีกครั้ง อันเนื่องมาจากมีความสำคัญต่อทั้งสหรัฐอเมริกาและอิหร่าน และความเป็นปรปักษ์จะยังคงดำเนินต่อไป
สหรัฐอเมริกา-อิหร่าน: ความสัมพันธ์ที่ผันแปร (ตอนที่ 1/2)
จะเห็นได้ว่าตั้งแต่ปี 1979 ตลอดระยะเวลา 40 ปีที่สหรัฐอเมริกาตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับอิหร่านและนำไปสู่มาตรการคว่ำบาตร ความสัมพันธ์ของทั้งสองประเทศจึงมีความตึงเครียดเรื่อยมา
ภาษีคาร์บอนข้ามแดน (Carbon Border Tax) จำเป็นหรือไม่?
อะไรคือ Carbon Border Tax? บทความนี้จะเล่าถึงความเป็นมา รวมถึงผลศึกษาผลกระทบการจัดเก็บภาษีคาร์บอนต่อเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาและต่อประชาชนในกลุ่มต่างๆ
FATCA: จากความตกลงถึงพระราชบัญญัติ
สาระสำคัญของกฎหมาย FATCA คือการมุ่งให้กฎหมายมีผลบังคับใช้กับสถาบันการเงินในต่างประเทศ (Foreign Financial Institutions: FFIs) ให้มีหน้าที่ต้องรายงานข้อมูลทางบัญชีของลูกค้าชาวสหรัฐฯ