Singapore Fintech Festival 2019 : Rethink Finance
FinTech Startups เหล่านี้ล้วนเป็นเจ้าของนวัตกรรมที่เป็นกลไกสำคัญในการ Reshape โลกของ SMEsได้อย่างยั่งยืน อย่างไรก็ดี แรงขับเคลื่อนจากภาคเอกชนจะไม่อาจบรรลุเป้าหมายได้เลยหากปราศจากเส้นทางเดินที่ภาครัฐได้เปิดไว้ให้อย่างเหมาะสม
Libra 2.0 การกลับมา ของสกุลเงินดิจิตอลเฟซบุค
เตรียมพร้อมรับมือไม่ใช่เพียงแต่ในกลุ่มธนาคารหรือนักลงทุน แต่นักกฏหมายและหน่วยงานกำกับการชำระเงินและการธนาคารอาจจะต้องสร้างชุดเกราะให้กับระบบเศรษฐกิจและระบบการเงินการธนาคารและการชำระเงินที่ครอบคลุมถึงเงินดิจิตอลที่อาจเข้ามาผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์มากขึ้น
พรบ. ทรัพย์อิงสิทธิ : ช่องทางใหม่ในการใช้ประโยชน์ในอสังหาริมทรัพย์
ทรัพย์อิงสิทธิจะเข้ามาเป็นเครื่องใหม่สำหรับการใช้ประโยชน์ในอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจไทยให้เติบโตได้มากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ดี ทรัพย์อิงสิทธิก็เป็นเพียง “ทางเลือก” ซึ่งสุดท้ายแล้ว ก็ขึ้นอยู่เจ้าของอสังหาริมทรัพย์และผู้ต้องการใช้ประโยชน์จะพิจารณาใช้ทรัพย์อิงสิทธิให้มีความเหมาะสมกับแต่ละกรณี
ขีดความสามารถด้านการท่องเที่ยวของไทย
ขีดความสามารถหรือศักยภาพในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของไทย ที่ไทยมีความได้เปรียบกว่าประเทศอื่นในภูมิภาคอาเซียน อย่างไรก็ดี ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชนยังคงต้องตระหนักและให้ความสำคัญกับการท่องเที่ยวไทย เพื่อให้เป็นการท่องเที่ยวเชิงปริมาณและการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพควบคู่กัน
ทิศทางภาคบริการไทย สู่ยุคของ “Modern service”
ภาคบริการของไทยที่ยังพึ่งพิงแต่ภาคการท่องเที่ยวเป็นหลัก ซึ่งมีความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจโดยรวมหากจะหวังพึ่งพิงภาคการท่องเที่ยวเพียงอย่างเดียวเพราะในระยะยาวอาจจะมีข้อจำกัดด้านอุปทาน ซึ่งในความเป็นจริงนั้นภาคบริการยังมิติทางกิจกรรมที่หลากหลายในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ภาคบริการมากยิ่งขึ้น
ก้าวสู่มิติใหม่เมืองแห่งอนาคต
บทความนี้จึงนำเสนอแนวคิด Smart City ในการพัฒนาสังคมเมืองทั้งในด้านการบริหารจัดการด้านสาธารณูปโภค และด้านคุณภาพชีวิตโดยใช้ ICT รวมทั้ง Emerging Technologies เช่น Big Data Artificial Intelligence และ Internet of Things (IoT) เป็นต้น เข้ามาปฏิรูประบบการจัดการต่างๆ ในเมือง เพิ่มประสิทธิภาพของ Insight เพื่อช่วยในการตัดสินใจของ Social Planner รวมถึงยกระดับความเป็นอยู่ของชีวิตคนเมือง
กรณีศึกษา One Belt One Road ต่อผลทางเศรษฐกิจไทย
สำหรับบทความนี้ผู้เขียนได้เรียบเรียงข้อมูลพื้นฐานและสาระสำคัญเกี่ยวกับโครงการ OBOR รวมถึงความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจไทยกับกลุ่มประเทศที่เกี่ยวข้องในโครงการ OBOR ผ่านช่องทางการค้า ตลอดจนนำไปสู่การวิเคราะห์กรณีศึกษาในสมมติฐานทางเศรษฐศาสตร์ต่าง ๆ โดยใช้เครื่องมือทางเศรษฐมิติมาช่วยในการคาดการณ์ผลต่อเศรษฐกิจประเทศต่าง ๆ รวมถึงไทย
เศรษฐกิจภาคตะวันออก พื้นที่ยุทธศาสตร์ด้านการลงทุน
การให้ความสำคัญกับนโยบายการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน และการสนับสนุนการลงทุนด้านงานวิจัยและพัฒนาของประเทศให้เพิ่มขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมด้านแรงงานให้สอดคล้องกับแนวโน้มการลงทุนและอุตสาหกรรมในอนาคต จึงเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้เศรษฐกิจภาคตะวันออกของประเทศไทยกลายเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ด้านการลงทุนแห่งภูมิภาคเอเชียได้อย่างเต็มภาคภูมิ