Tag Archives: สัณหณัฐ เศรษฐศักดาศิริ

การพัฒนาที่มีความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่โดยส่วนใหญ่จะมาจากการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่เพื่อให้การพัฒนาพื้นที่สามารถตอบโจทย์ที่สอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่นั้นๆ ดังตัวอย่างกรณีประเทศสเปน และประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น

machine learning

การเปิดโลกผู้มีรายได้น้อยด้วย Machine Learning ในครั้งนี้ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการนำความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมาช่วยวิเคราะห์ฐานข้อมูลของประชาชนเชิงลึก สำหรับในระยะถัดไป สามารถนำไปต่อยอดกับเทคโนโลยี Blockchain เชื่อมโยงการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ของประชาชน ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการคาดการณ์ผู้ที่มีความเสี่ยงหรือโอกาสที่จะตกอยู่ในความยากจนในอนาคต รวมถึงเป็นประโยชน์ต่อการออกแบบและเสนอแนะนโยบายการคลังได้ตรงตามความต้องการของประชาชนทุกกลุ่มที่มีความแตกต่างกันอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ “ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” ของรัฐบาล

ภาพรวมประเทศไทยถูกจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านดิจิทัลอยู่ในอันดับที่ 39 จากทั้งหมด 63 ประเทศ ซึ่งดีขึ้นจากปีที่ผ่านมา 1 อันดับ อีกทั้ง การจัดอันดับความพร้อมด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร (Networked Readiness Index) ประจำปี 2563 ของ World Economic Forum เพื่อประเมินแนวโน้มความสามารถในการแสวงหาโอกาสจากเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกรวม 134 ประเทศ ประเทศไทยติดอยู่อันดับที่ 51 ดีขึ้น 5 อันดับจากปี 2562 โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมด้านดิจิทัลของภาครัฐและภาคประชาชนที่อันดับดีขึ้นอย่างมาก

สำหรับประมาณการ GDP MSME ปี 2564 สสว. คาดว่า GDP MSME จะกลับมาขยายตัวได้ดีที่ร้อยละ 4.0 ถึง 5.0 ต่อปี เนื่องจากการผลิตวัคซีนและใช้จริงได้ในช่วงครึ่งหลังของปี 2564 รวมถึงอานิสงส์จากมาตรการต่าง ๆ ภาครัฐในการกระตุ้นเศรษฐกิจที่จะดำเนินการต่อเนื่องจาก ปี 2563 ตลอดจนโครงการลงทุนของภาครัฐในด้านโครงสร้างพื้นฐานจำนวนหลายโครงการที่ใกล้จะแล้วเสร็จและโครงการลงทุนด้านคมนาคมทั้งทางถนนและระบบรางอีกหลายโครงการที่จะเริ่มก่อสร้างในปี 2564 จะเป็นตัวเร่งให้เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น

อาชีพดาวรุ่งยุค COVID-19 ในประเทศไทย

จากการแพร่ระบาดของ COVID-19 อาจจะส่งผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจภาพรวม อย่างไรก็ตาม ยังคงมีหลายกลุ่มอาชีพที่ได้รับประโยชน์จากเหตุการณ์ครั้งนี้ จะเห็นได้ว่า ท่ามกลางวิกฤติยังคงมีโอกาสเสมอ หากแรงงานไทยมีการปรับตัวในการใช้ชีวิตและปรับเปลี่ยนช่องทางการหารายได้เพิ่มเติมตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น

ไม่มีประเทศใดในโลกตอนนี้ ที่ผมรู้สึกว่าจะปลอดภัยเท่าประเทศไทย รวมถึงไม่แปลกใจที่แพทย์และนักเขียนชาวอเมริกันออกมากล่าวยกย่องว่า ประเทศไทยเป็น 1 ใน 5 ประเทศของโลก ที่สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 ได้สำเร็จ

สังคมผู้สูงอายุ: ความท้าทายที่ประเทศไทยกำลังเผชิญ

การเข้าสู่สังคมสูงอายุมิได้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นแต่กับประเทศไทยเพียงเท่านั้น แต่เป็นปัญหาที่ประเทศต่าง ๆ ทั้งประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนาแล้วกำลังเผชิญเช่นเดียวกัน

การพัฒนาเครื่องมือติดตามภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคของไทย

บทความโดยดร. นรพัชร์ อัศววัลลภนายสัณหณัฐ เศรษฐศักดาศิริ บทสรุปผู้บริหาร

Cashless Society…เทรนด์ใหม่ไร้เงินสด

บทความโดย สัณหณัฐ เศรษฐศักดาศิริ บทสรุปผู้บริหาร สังคมไร้เงินสด

ปัญหาความเหลื่อมล้ำดังกล่าว ส่งผลให้ความแข็งแกร่งในการเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาวลดลง ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า การที่เศรษฐกิจไทยยังไม่สามารถขยายตัวได้ในระดับสูงนั้น ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ที่เกิดขึ้นมายาวนาน

20/20