การพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรู้ สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์
เศรษฐกิจสร้างสรรค์สามารถสร้างความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน (Sustainable growth) เนื่องจากเป็นระบบเศรษฐกิจที่พึ่งพาการผลิตที่ใช้ความรู้เป็นพื้นฐานสำคัญเพื่อต่อยอดต่อการสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value added) ผ่านความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
เรียนรู้ประสบการณ์การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงพื้นที่ในต่างประเทศ
วิธีหนึ่งในการออกแบบนโยบายสาธารณะที่ดีและมีประสิทธิภาพคือ การออกแบบนโยบายสาธารณะที่มีความเฉพาะเจาะจงมีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนหรือที่เรียกว่า Targeted Policy เนื่องจากเป็นการดำเนินนโยบายที่มุ่งตอบสนองกลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้องตรงตัว และยังช่วยประหยัดทรัพยากรไม่ให้ต้องสิ้นเปลืองไปกับการดำเนินนโยบายกับกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเป้าหมายซึ่งอาจจะมีลักษณะเฉพาะตัวและปัญหาอื่นๆ ที่แตกต่างออกไป
การพัฒนาโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐให้ดีขึ้น
สิ่งสำคัญและความท้าทายนับจากนี้คือการให้ความสำคัญกับฐานข้อมูลและผลทางเศรษฐมิติเพื่อประกอบการพิจารณาสำหรับออกนโยบายให้ตรงจุดและมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้คือการสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการบูรณาการด้านการเชื่อมต่อข้อมูล (การเชื่อมต่อโดยอาศัย “เลขบัตรประชาชน” เป็นตัวกลาง) ซึ่งจะนำไปสู่ระบบการช่วยเหลือสวัสดิการอย่างเป็นระบบและลดความซ้ำซ้อนอีกด้ว
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
เขตพัฒนาพิเศษเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งของนโยบายที่จะตอบสนองความต้องการที่จำเพาะของประเทศ และเป็นนโยบายที่ใช้ในการกระตุ้นเศรษฐกิจในระยะยาว โดยการออกกฎหมายกำหนดพื้นที่ของเขตพัฒนาพิเศษ และการให้สิทธิประโยชน์ผ่านทางมาตรการภาษี รวมทั้งนโยบายด้านแรงงาน เพื่อให้พื้นที่ในเขตพัฒนาพิเศษมีความพร้อมต่อการลงทุน
สังคมผู้สูงอายุ: ความท้าทายที่ประเทศไทยกำลังเผชิญ
การเข้าสู่สังคมสูงอายุมิได้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นแต่กับประเทศไทยเพียงเท่านั้น แต่เป็นปัญหาที่ประเทศต่าง ๆ ทั้งประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนาแล้วกำลังเผชิญเช่นเดียวกัน
Cashless Society…เทรนด์ใหม่ไร้เงินสด
บทความโดย สัณหณัฐ เศรษฐศักดาศิริ บทสรุปผู้บริหาร สังคมไร้เงินสด
FATCA: จากความตกลงถึงพระราชบัญญัติ
สาระสำคัญของกฎหมาย FATCA คือการมุ่งให้กฎหมายมีผลบังคับใช้กับสถาบันการเงินในต่างประเทศ (Foreign Financial Institutions: FFIs) ให้มีหน้าที่ต้องรายงานข้อมูลทางบัญชีของลูกค้าชาวสหรัฐฯ
ความเหลื่อมล้ำในมิติต่างๆ ของประเทศ
ปัญหาความเหลื่อมล้ำดังกล่าว ส่งผลให้ความแข็งแกร่งในการเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาวลดลง ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า การที่เศรษฐกิจไทยยังไม่สามารถขยายตัวได้ในระดับสูงนั้น ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ที่เกิดขึ้นมายาวนาน