Tag Archives: นรพัชร์ อัศววัลลภ

สถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในช่วงที่ผ่านมาส่งผลกระทบไปยังหลายจังหวัดของประเทศ โดยพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมส่วนใหญ่เป็นภาคเกษตรกรรม รองลงมาเป็นภาคบริการ และภาคอุตสาหกรรม ตามลำดับ

บทความนี้จะนำเสนอผลจากเครื่องชี้เศรษฐกิจที่มีความรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีเครื่องชี้หลายรายการที่มีความถี่สูง สามารถติดตามได้เป็นรายวันซึ่งแตกต่างจากเครื่องชี้เศรษฐกิจทั่วไปซึ่งมักจะมีความถี่เป็นรายเดือน

ภาคการท่องเที่ยวของไทยมีความสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมาตลอดโดยเฉพาะในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา โดยในปี 2562 ประเทศไทยได้รับรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างประเทศถึง 3 ล้านล้านบาท และเป็นแหล่งสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับคนไทยจำนวนมาก นอกจากนั้นยังมีการกระจายรายได้ไปยังอุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง

การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 ได้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในประเทศต่าง ๆ อย่างมาก แต่แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาคแบบดั่งเดิมจะใช้ประเมินผลกระทบในภาพรวม (Macroeconomic Level) อาจไม่สามารถวิเคราะห์ผลกระทบในระดับจุลภาคได้ (Microeconomic Level) ดังนั้น คณะผู้เขียนจึงได้พัฒนาแบบจำลองการระบาด Susceptible, Infectious, Recovered (SIR) ขึ้นเพื่อคาดการณ์จำนวนผู้ติดเชื้อ และแบบจำลอง Agent-Based Modeling (ABM) ซึ่งใช้จำลองสถานการณ์และวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง Agent ในระบบเศรษฐกิจเชิงจุลภาค (Micro Simulation Modelling) เพื่อประโยชน์ในการจัดทำนโยบายแบบมีกลุ่มเป้าหมาย (Targeted Policy) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลสำรวจการประเมินมาตรการกระทรวงการคลัง กรณีศึกษา มาตรการ “ช้อปดีมีคืน”

ผลการประเมินมาตรการพบว่า ในภาพรวมทั้งประเทศทั้งในเดือนพฤศจิกายนและเดือนธันวาคม 2563 มีสัดส่วนลูกค้าที่ขอใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปและยอดขายของร้านค้าที่เพิ่มขึ้นอยู่ในช่วง 6%-20%

เรียนรู้ประสบการณ์การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงพื้นที่ในต่างประเทศ

วิธีหนึ่งในการออกแบบนโยบายสาธารณะที่ดีและมีประสิทธิภาพคือ การออกแบบนโยบายสาธารณะที่มีความเฉพาะเจาะจงมีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนหรือที่เรียกว่า Targeted Policy เนื่องจากเป็นการดำเนินนโยบายที่มุ่งตอบสนองกลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้องตรงตัว และยังช่วยประหยัดทรัพยากรไม่ให้ต้องสิ้นเปลืองไปกับการดำเนินนโยบายกับกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเป้าหมายซึ่งอาจจะมีลักษณะเฉพาะตัวและปัญหาอื่นๆ ที่แตกต่างออกไป

การพัฒนาเครื่องมือติดตามภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคของไทย

บทความโดยดร. นรพัชร์ อัศววัลลภนายสัณหณัฐ เศรษฐศักดาศิริ บทสรุปผู้บริหาร

ปัญหาความเหลื่อมล้ำดังกล่าว ส่งผลให้ความแข็งแกร่งในการเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาวลดลง ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า การที่เศรษฐกิจไทยยังไม่สามารถขยายตัวได้ในระดับสูงนั้น ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางรายได้ที่เกิดขึ้นมายาวนาน

28/28